เดลินิวส์

วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024

ผ่าโลกวันอาทิตย์ไฮไลท์

ซ้อมรบครั้งประวัติศาสตร์ เพิ่มบทบาททางทหารอาเซียน ?

การซ้อมรบทางทะเลร่วมกันครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 19-23 ก.ย. ที่ผ่านมา บริเวณทะเลใกล้กับเมืองบาตัม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะรีเยา ในหมู่เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย โดยสมาชิกอาเซียนเข้าร่วมครบทั้ง 10 ประเทศ และติมอร์-เลสเต ว่าที่สมาชิกใหม่ ซึ่งตอนนี้ทำหน้าที่ผู้สังเกตการณ์

เรื่องใหญ่เกินจะเคลียร์? สัมพันธ์ร้าวอินเดีย-แคนาดา

ความสัมพันธ์ระหว่างแคนาดากับอินเดียตึงเครียดที่สุดในรอบหลายทศวรรษ เมื่อรัฐบาลออตตาวากล่าวหารัฐบาลนิวเดลี มีความเชื่อมโยงโดยตรง กับการฆาตกรรมนักเคลื่อนไหวชาวซิกข์ ซึ่งลี้ภัยอยู่ในแคนาดา

‘รัสเซีย-เกาหลีเหนือ’ น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า

นายคิม จอง-อึน ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือ เยือนรัสเซียในเดือนนี้ เพื่อพบหารือกับประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ที่ศูนย์อวกาศวอสทอชนี ในภูมิภาคตะวันออกไกลของรัสเซีย โดยนับเป็นการเยือนประเทศแห่งนี้อย่างเป็นทางการ ครั้งที่สองของท่านผู้นำเกาหลีเหนือ ต่อจากเมื่อปี 2562

มังกรซ่อนเล่ห์ เกมการทูตประธานสี

การที่ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ผู้นำจีน ไม่ไปร่วมการประชุมสุดยอดผู้นำ “จี20” ที่อินเดีย ก่อให้เกิดความสงสัยจากหลายฝ่าย ว่าเหตุผลของเรื่องนี้ คืออะไรกันแน่

หมวดบทความ: ผ่าโลกวันอาทิตย์

‘น้ำบำบัด’ ฟุกุชิมะ ผลกระทบต้องจับตา

12 ปี หลังภัยพิบัตินิวเคลียร์ ซึ่งเกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ รัฐบาลญี่ปุ่นตัดสินใจระบาย “น้ำบำบัด” มากกว่า 1.3 ล้านตัน ที่ผ่านการกรองกัมมนตรังสีแล้ว ลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ท่ามกลางการจับตาของประชาคมโลก

‘บริกส์’ขยายขอบเขต พันธมิตรเศรษฐกิจใหม่

“BRICS” หรือ “บริกส์” เป็นชื่อของการรวมกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง 5 ประเทศตลาดเกิดใหม่ ก่อตั้งเมื่อปี 2552 โดยตัวอักษรภาษาอังกฤษมาจากตัวอักษรแรก ของสมาชิกแต่ละประเทศ ได้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้

แนวโน้มข้าวราคาแพง ปัญหารุนแรงระดับโลก

มีการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มผลผลิตข้าวโลกว่า ปีนี้จะเป็นปีที่ตลาดข้าวโลกมีแนวโน้มเผชิญกับภาวะขาดแคลนสินค้าครั้งใหญ่ที่สุดในรอบสองทศวรรษ และราคาข้าวจะยังคงแพง “ในระดับนี้” ไปจนถึงปี 2567 ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อบรรดาประเทศที่ต้องการนำเข้าข้าวจำนวนมหาศาลในปีนี้ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศในทวีปแอฟริกา

สู่มหาอำนาจอวกาศ อินเดียจ่อผงาดบนดวงจันทร์

เส้นทางแห่งความพยายามของอินเดีย เพื่อการเป็นหนึ่งในมหาอำนาจด้านอวกาศ โดยคราวนี้ขอเดินพันครั้งสำคัญ ด้วยการส่งยานสำรวจลงจอดบนพื้นผิวดวงจันทร์

ฝรั่งเศสออกอาการ รัฐประหารไนเจอร์

ไนเจอร์ เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาซึ่งไม่มีทางออกโดยตรงสู่ทะเล และเป็นหนึ่งในประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจยากจนที่สุดของภูมิภาค ปัจจุบันมีประชากรราว 25 ล้านคน เคยอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสนาน 60 ปี จนได้รับเอกราชเมื่อปี 2503 หลังจากนั้น ไนเจอร์เผชิญกับการรัฐประหารมาแล้ว 4 ครั้ง และความพยายามอีกนับครั้งไม่ถ้วน

สงบศึกครบ 70 ปี คาบสมุทรเกาหลียังคุกรุ่น

การลงนามในข้อตกลงหยุดยิงสงครามเกาหลี เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 ก.ค. 2496 เพื่อระงับการสู้รบระหว่างเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 3 ปีก่อนหน้านั้น คือเดือนมิ.ย. 2493 อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงหยุดยิงสงครามเกาหลี ไม่ได้มีผลผูกพันตามกฎหมายระหว่างประเทศ ในการยุติสงคราม “เป็นการถาวร” เท่ากับว่า เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ จึงยังคงมีสถานะเป็นประเทศคู่สงคราม จนถึงปัจจุบัน

เลือกตั้งใหญ่กัมพูชา ได้เวลา ‘ฮุน มาเนต’

สมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา วัย 70 ปี ผูกขาดการปกครองประเทศแห่งนี้คนเดียว 4 ทศวรรษ นำกัมพูชาจัดการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 23 ก.ค. 2566 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่ทั้ง 125 ที่นั่ง โดยเป็นการจัดการเลือกตั้งตามกำหนด ซึ่งต้องเกิดขึ้นทุก 5 ปี

130 ปี ไม่ลืมเลือน ความขมขื่นแห่งร.ศ.112

หากกล่าวถึงหนึ่งในกรณีพิพาทระหว่างประเทศครั้งใหญ่หลวง และมีความสำคัญที่สุดจนเป็นบทเรียนสำคัญสำหรับไทย สถานการณ์ครั้งนั้นคือ วิกฤติการณ์ ร.ศ. 112 หรือสงครามฝรั่งเศส-สยาม ที่เกิดขึ้นเมื่อปี 2436 เป็นความขัดแย้งซึ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 กับสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

วิกฤติเศรษฐกิจศรีลังกา รัฐนาวายังไม่พ้นมรสุม

1 ปีหลังมวลชนชาวชนศรีลังกาที่โกรธแค้นต่อความล้มเหลวของรัฐบาล ในการบริหารเศรษฐกิจ บุกข้าไปภายในทำเนียบประธานาธิบดี และอาคารรัฐสภา บรรยากาศของศรีลังกาในวันนี้เป็นไปอย่างสงบเรียบร้อย ไม่มีการต่อแถวยาวเหยียดตามสถานีบริการเชื้อเพลิง และประชาชนไม่ต้องใช้ชีวิตอย่างหวาดหวั่น ท่ามกลางความวิตกกังวล ว่าการตัดกระแสไฟฟ้าจะเกิดขึ้นช่วงใดของวัน

ลูคาเชนโกสงบศึก รัสเซียคึก-วากเนอร์ถอย

ความขัดแย้งยืดเยื้อระหว่างกระทรวงกลาโหมรัสเซีย กับกองกำลังทหารรับจ้าง “วากเนอร์” บานปลายกลายเป็น “การก่อกบฏทางอาวุธ” เมื่อช่วงสุดสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมิ.ย. แม้มีระยะเวลาเพียง 36 ชั่วโมง แต่เป็นครั้งแรกในรอบ 2 ทศวรรษ ที่รัสเซียภายใต้การปกครองของประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน เผชิญกับ “ความท้าทายด้านความมั่นคงจากภายใน”

วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา

ติดตามเดลินิวส์

สงวนสิทธิ์ 2556 – 2560 บริษัท สี่พระยาการพิมพ์ จำกัด
อ่านความจริง อ่านเดลินิวส์

วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024

ติดตามเดลินิวส์

© 2022 บริษัท สี่พระยาการพิมพ์ จำกัด

วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2024
ทั่วไทย
อาชญากรรม
การเมือง
เศรษฐกิจ
บันเทิง
กีฬา
ต่างประเทศ
ไลฟ์สไตล์
กิน-ดื่ม
สุขภาพ-ความงาม
นวัตกรรมขนส่ง
ยานยนต์
การศึกษา-ศาสนา
บทความอื่นๆ
ช่องทางการติดตาม
  • ติดต่อโฆษณา
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา